Search
× Search

ข่าวประชาสัมพันธ์ อบรม และทุนวิจัย

การพัฒนารูปแบบชุดเครื่องเรือนวิถีชีวิตยุคใหม่ภายในที่พักอาศัย ด้วยภูมิปัญญาการจักสาน กรณีศึกษา ตำบลบางเจ้าฉ่า  อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง
pakorn teangpian 157

การพัฒนารูปแบบชุดเครื่องเรือนวิถีชีวิตยุคใหม่ภายในที่พักอาศัย ด้วยภูมิปัญญาการจักสาน กรณีศึกษา ตำบลบางเจ้าฉ่า อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง

รายละเอียดโดยย่อ

ผักตบชวาเพื่อจักสาน นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เริ่มต้นจากการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและการสร้างอาชีพให้คนในชุมชน ผลิตภัณฑ์จักสานจากผักตบชวาได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับจากผลิตภัณฑ์ชิ้นเล็ก กระเป๋า และของใช้ไม้สอยอื่น ๆ เป็นผลิตภัณฑ์ตกแต่งและเครื่องเรือนที่ระลึกที่ช่วยฟื้นฟูองค์ความรู้และภูมิปัญญาจักสานแก่คนไทยยุคใหม่ โดยใช้เอกลักษณ์ของการขึ้นทรง น่องสิงห์ หูหิ้วกระเป๋า มาร่วมอยู่ในการออกแบบ ทำให้ได้ต้นแบบเครื่องเรือน 2 รูปแบบ คือ บุงจาด และ เก้าอี้ ได้ต้นแบบของตกแต่ง 1 ชุด เพื่อส่งเสริมกิจกรรมจักสานที่ระลึกประกอบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

จุดเด่นเทคโนโลยี

  • นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ เริ่มต้นจากการแก้ไขปัญหาของ ผักตบชวา และการสร้างอาชีพให้คนในชุมชน

ผู้ประดิษฐ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรัญ วานิชกร

วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Share

Print
Terms Of UsePrivacy StatementCopyright © Srinakharinwirot University
Back To Top